ชื่อวิทยาศาสตร์: Calophyllum inophyllum
ชื่อวงศ์: CLUSIACEAE (GUTTIFERAE)
ชื่อสามัญ: Alexandrian Laurel
ชื่อพื้นเมือง: กระทิง กระทึง กากะทิง กากะทึง ทิง เนาวกาน สารภีทะเล สารภีแนน
ลักษณะทั่วไป:
ต้น ไม้ต้นสูง 5-18 เมตร เรือนยอดแผ่กว้างเป็นพุ่มกลมและหนาทึบ ไม่ผลัดใบ เปลือกสีน้ำตาลปนเทา ทุกส่วนมียางสีเหลืองอมเขียว
ใบ ใบเดี่ยวเรียงตรงข้ามแผ่นใบรูปขอบขนานแกมรูปไข่ขอบใบเรียบ ผิวใบเกลี้ยงด้านบนสีเขียวเข้มเป็นมัน ด้านล่างสีเขียวนวล ปลายมน หรือมีรอยเว้าบุ๋ม
ดอก ออกตามง่ามใบ และปลายกิ่ง ดอกสีขาวหรือสีเหลืองอ่อน กลิ่นหอมเย็น ออกเป็นช่อ กลีบเลี้ยงสีเดียวกับกลีบดอกมีอย่างละ 4 กลีบ เกสรเพศผู้มีจำนวนมาก
ฝัก/ผล ผลกลมรีถึงค้อนข้างกลมมี 1 เมล็ด และฉ่ำน้ำ เมื่อสุกสีเหลือง
ฤดูกาลออกดอก: กรกฎาคม-สิงหาคมการดูแลรักษา: ชอบขึ้นในดินปนทราย
การขยายพันธุ์: ด้วยเมล็ด
ส่วนที่มีกลิ่นหอม: ดอก
การใช้ประโยชน์:
- ไม้ประดับ ไม้ให้ร่มตามถนน
- ไม้ใช้ในการก่อสร้าง ทำเครื่องเรือน ทำกระดูกงูเรือ ไม้หมอนรถไฟ
แหล่งที่พบ: พบทั่วไปตามป่าชายหาด
สรรพคุณทางยา: เปลือกใช้ล้างแผล
ชื่อวงศ์: CLUSIACEAE (GUTTIFERAE)
ชื่อสามัญ: Alexandrian Laurel
ชื่อพื้นเมือง: กระทิง กระทึง กากะทิง กากะทึง ทิง เนาวกาน สารภีทะเล สารภีแนน
ลักษณะทั่วไป:
ต้น ไม้ต้นสูง 5-18 เมตร เรือนยอดแผ่กว้างเป็นพุ่มกลมและหนาทึบ ไม่ผลัดใบ เปลือกสีน้ำตาลปนเทา ทุกส่วนมียางสีเหลืองอมเขียว
ใบ ใบเดี่ยวเรียงตรงข้ามแผ่นใบรูปขอบขนานแกมรูปไข่ขอบใบเรียบ ผิวใบเกลี้ยงด้านบนสีเขียวเข้มเป็นมัน ด้านล่างสีเขียวนวล ปลายมน หรือมีรอยเว้าบุ๋ม
ดอก ออกตามง่ามใบ และปลายกิ่ง ดอกสีขาวหรือสีเหลืองอ่อน กลิ่นหอมเย็น ออกเป็นช่อ กลีบเลี้ยงสีเดียวกับกลีบดอกมีอย่างละ 4 กลีบ เกสรเพศผู้มีจำนวนมาก
ฝัก/ผล ผลกลมรีถึงค้อนข้างกลมมี 1 เมล็ด และฉ่ำน้ำ เมื่อสุกสีเหลือง
ฤดูกาลออกดอก: กรกฎาคม-สิงหาคมการดูแลรักษา: ชอบขึ้นในดินปนทราย
การขยายพันธุ์: ด้วยเมล็ด
ส่วนที่มีกลิ่นหอม: ดอก
การใช้ประโยชน์:
- ไม้ประดับ ไม้ให้ร่มตามถนน
- ไม้ใช้ในการก่อสร้าง ทำเครื่องเรือน ทำกระดูกงูเรือ ไม้หมอนรถไฟ
แหล่งที่พบ: พบทั่วไปตามป่าชายหาด
สรรพคุณทางยา: เปลือกใช้ล้างแผล