ต้นอโศกอินเดีย



ชื่อวิทยาศาสตร์ Polylthia longifolia  (Benth) Hook. F. var.

ชื่อวงศ์  ANNONACEAE.

ชื่อสามัญ  The Mast Tree

ชื่อพื้นเมืองอื่นๆ  อโศกเซนต์คาเบรียล , อโศกอินเดีย

ถิ่นกำเนิด  ประเทศอินเดียและศรีลังกา

การกระจายพันธ์ : ในประเทศไทย   ทั่วทุกภาคของประเทศไทยในประเทศอื่นๆ   ประเทศอินเดียและศรีลังกา
นิเวศวิทยา  ขึ้นได้ในดินทั่วไป
เวลาออกดอก   ระหว่างเดือนมีนาคม-เดือนเมษายน
การขยายพันธุ์  ด้วยเมล็ดหรือตอนกิ่ง
การใช้ประโยชน์  ใช้เป็นไม้ประดับ
ประวัติพันธุ์ไม้(การนำเข้ามาปลูกในประเทศไทย) ภรดา ยงห์น แมรี่ เป็นผู้นำเข้ามาในประเทศไทย เมื่อ พ.ศ. 2500 จากประเทศอินเดีย
ลักษณะวิสัย  : ไม้ต้น
เรือนยอด : รูปกรวย  ความสูง 4.5 ม.  ความกว้างทรงพุ่ม 1.5 ม.
ถิ่นอาศัย : พืชบก
ลำต้น : ลำต้นเหนือดิน  ตั้งตรงเองได้
เปลือกลำต้น : ขรุขระ  สีน้ำตาลแก่
ยาง : ไม่มี
ชนิดของใบ : ใบประกอบ  แบบขนนก  ขนนกปลายคี่  สีเขียวแก่  ขนาดใบ กว้าง  4  ซม.  ยาว 23  ซม.
ลักษณะพิเศษของใบ : ใบรูปหอก แนวยาว สีเขียวเข้ม ขอบใบเป็นคลื่น
การเรียงตัวของใบบนกิ่ง  : สลับ
รูปร่างแผ่นใบ : รูปใบหอก
ปลายใบ : ยาวคล้ายหาง
โคนใบ : มน
ขอบใบ : เป็นคลื่น
ดอก : ดอกช่อ ช่อกระจุก

ตำแหน่งออกของดอก : ตามลำต้นหรือกิ่ง
กลีบเลี้ยง : แยกออกจากกัน   จำนวน  5 กลีบ  สีขาว
กลีบเลี้ยง : โคนเชื่อมติดกัน  ปลายแยกเป็น 3 แฉก  สี เขียวอ่อน
กลีบดอก : โคนเชื่อมติดกัน  ปลายแยกเป็น 6 แฉก  สี เขียวอ่อน  ดาหกแฉก
เกสรเพศผู้ : จำนวน 2 อัน  สี เหลือง
เกสรเพศเมีย : จำนวน 1 อัน  สี เหลือง
รังไข่ :  รังไข่เหนือวงกลีบ
กลิ่น : ไม่มี
ชนิดของผล : ผลกลุ่ม ผลสด ผลมีเนื้อหนึ่งถึงหลายเมล็ด
สีของผล : ผลอ่อน สีเขียวอ่อน  ผลแก สีเขียวเข้ม
รูปร่างผล : รี
ลักษณะพิเศษของผล : เมล็ดเล็ก
เมล็ด : จำนวน 1 เมล็ด/ผล  สี เขียว
รูปร่างเมล็ด : กลม